สอบบรรจุสำนักงาน อ.ต.ก.นครพนม

หมวดหมู่สินค้า: สำนักงาน อ.ต.ก.

10 ตุลาคม 2564

ผู้ชม 146 ผู้ชม

 
หลักการและเหตุผลของสำนักงาน อ.ต.ก.นครพนม
 
รัฐบาลปัจจุบันได้ให้ความสำคัญอย่างยิ่งกับการพัฒนา และการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)มาใช้ในภาครัฐ (e-Government) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หน่วยงานภาครัฐที่ให้บริการประชาชน และภาคธุรกิจ จะต้องเร่งดำเนินการพัฒนานำมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการเป็นรูปธรรมอย่างรวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ ทันสมัยและโปร่งใส เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงสารสนเทศและการบริการภาครัฐอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน ขณะเดียวกันสามารถนำ ICT มาใช้ เพื่อทำการปฏิรูประบบบริหารองค์กรของรัฐให้ได้เป้าประสงค์ของการบริการที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
 
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจึงได้กำหนดแผนทิศทาง (ROADMAP) ในการพัฒนาระบบการบริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐแบบก้าวกระโดดในระยะเวลา 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2552-2557) และแผนดำเนินการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทยในอนาคต เพื่อให้สามารถบรรลุการพัฒนาไปสู่ online information & interactive transaction โดยสมบูรณ์ ดังนี้
 
1 ระยะที่ 1 ภายในปี 2553 กำหนดเป้าหมายเป็น c-Government หรือ Connected Government ที่มีการเชื่อมโยงกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐในการให้บริการ e-Services
2 ระยะที่ 2-3 ภายในปี 2554-2555 เป็น m-Government หรือ Mobile Government ที่มีการเชื่อมโยงกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐผ่านช่องทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่อื่น ๆ ในการให้บริการ e-Services
3 ระยะที่ 4 ภายในปี 2556 เป็น u-Government หรือ Ubiquitous Government ที่มีการเชื่อมโยงกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐผ่านช่องทางที่หลากหลายในการให้ บริการ e-Services ณ ที่ใดก็ได้ และเป็นบริการตลอดเวลาแบบ 24x7
4 ระยะที่ 5 ภายในปี 2557 เป็น t-Government หรือ Transformed Government หรือรัฐบาลที่ผ่านการแปลงสภาพตามนิยามขององค์การสหประชาชาติที่เป็นรัฐบาล ที่ใกล้ชิดกับประชาชนทุกภาคส่วนที่มีการเชื่อมโยงกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ผ่านช่องทางที่หลากหลายในการให้บริการ e-Services ณ ที่ใดก็ได้ และเป็นบริการตลอดเวลาแบบ 24x7
5 ซึ่งในปีงบประมาณ 2550 และ 2551 กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้พัฒนาโครงการ Common Platform และ e-Government Portal เพื่อเป็นโครงสร้างกลาง (Government Gateway) ในการรองรับการใช้งานจากประชาชนในการเข้าใช้บริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐใน ลักษณะการให้และรับบริการแบบรวมจุดเดียว (One Stop Service) ผ่านระบบ Single Window Entry ด้วย Single Sign On ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้เข้าใช้งานระบบ e-Service ของผู้ใช้งานเกิดความสะดวก รวดเร็ว มั่นใจในด้านความปลอดภัยน่าเชื่อถือไว้วางใจ และมีประสิทธิภาพดียิ่งๆ ขึ้นไป ดังนั้นเพื่อให้การพัฒนาเป็นไปตามแผนพัฒนา e-Government จึงควรให้มีการติดตาม ประเมินวัดผล และปรับปรุงระบบ Common Platform/e-Government Portal ให้สามารถเชื่อมโยงหน่วยงานภาครัฐได้อย่างสมบูรณ์ อยู่ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน และปรับปรุงระบบให้สามารถรองรับการให้บริการแก่ประชาชนแบบ One Stop Service โดยประชาชนสามารถเข้ามาใช้งานหน้าเว็บเดียวแล้วเข้าไปใช้งานบริการภาครัฐได้ทุกที่ เพื่อเป็นการบริการด้านข้อมูลและสารสนเทศ       ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เพื่อให้ประชาชนมีความใกล้ชิดกับภาครัฐมากขึ้น
 
วัตถุประสงค์ของโครงการ
1 เพื่อศึกษาวิเคราะห์ และออกแบบ กรอบแผนทิศทางของ e-Government Portal ที่สอดคล้องกับแผนแม่บท ICT แห่งชาติ รวมถึงสถาปัตยกรรมของระบบ e-Government Portal  เพื่อการพัฒนาระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐแบบก้าวกระโดดในระยะเวลา 5 ปี ให้เป็นศูนย์กลางบริการระบบงานอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ อย่างมีประสิทธิภาพ
2 เพื่อติดตาม ประเมิน วัดความสามารถ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของระบบ รวมทั้งตรวจสอบ ประเมินความเสี่ยง และหาช่องโหว่ด้านความปลอดภัยของระบบที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
3 เพื่อตรวจสอบระบบทั้งด้านความถูกต้อง ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของระบบ ความปลอดภัย และดำเนินการปรับปรุงศักยภาพทางด้านความมั่นคงปลอดภัย (Patching) และเสริมจุดแข็งของระบบ (Hardening) รวมทั้งกำหนดโครงสร้างด้านความปลอดภัย การออกแบบระบบรักษาความปลอดภัยของระบบเพื่อให้มีความมั่นคงปลอดภัยอย่างแท้ จริง
4 เพื่อพัฒนาและปรับปรุงระบบเว็บไซต์กลางบริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (e-Government Portal) ให้มีความสวยงาม น่าใช้  สะดวก ทันสมัย รวดเร็วต่อการใช้งาน และมีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมถึงสามารถรองรับการทำงานร่วมกับ e-Services ของหน่วยภาครัฐได้อย่างเหมาะสม
5 เพื่อเผยแพร่ และประชาสัมพันธ์กรอบการทำงานรวมถึงสถาปัตยกรรมของระบบ e-Government Portal ให้หน่วยงานภาครัฐทราบ และใช้เป็นแนวทางในการบูรณาการระบบงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
 
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1 มีระบบ e-Government Gateway กลางที่สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายและประสานข้อมูลสารสนเทศระหว่างหน่วยงานได้ทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย และเชื่อถือได้
2 มีระบบ Web Services ที่สามารถสนับสนุนการเชื่อมต่อระบบการให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ มีความมั่นคงปลอดภัยสูง และเป็นมาตรฐานแบบเปิด (Open standard)
3 มีระบบการเชื่อมโยงที่มีความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศสูงและเป็นมาตรฐาน
4 มีระบบเว็บไซต์กลางบริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (e-Government Portal) ที่มีความมั่นคงปลอดภัย น่าเชื่อถือ ประชาชนสามารถใช้บริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐแบบเบ็ดเสร็จ สามารถเข้าถึงบริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐได้ ณ จุดเดียว
5 มีระบบเว็บไซต์กลางบริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (e-Government Portal) ที่มีโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศร่วมกัน (Common Information Infrastructure) เพื่อรองรับการพัฒนา e-Government Gateway และการให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ ด้วยระบบ Web Service และให้บริการอิเล็กทรอนิกส์แบบเต็มรูปแบบผ่านระบบ  Single Window โดยให้บริการประชาชนผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐได้อย่างทั่วถึง ทันที ทุกที่ ทุกเวลา

                     ความลับการเป็นข้าราชการมาถึงมือท่านแล้ว                        

ไฟล์ราคา 389 เพิ่ม 100 บาท แถมฟรี ชุดติวสอบ ภาค ก แบบเข้าใจง่าย
หนังสือราคา 789 บวก แถมฟรี MP3บรรยาย และโปรแกรมฝึกทำข้อสอบ ภาค ก 
>รวบรวมจาก
ผู้สอบติดอันดับต้นๆ เจาะข้อสอบเข้างานราชการหน่วยงานและจังหวัดสำนักงาน อ.ต.ก. นครพนม  <<
 
>> (Book) สรุปสาระสำคัญ อ่านกระชับเวลา ไม่สับสน เข้าใจง่าย ออกชัวร์ๆ แม่นยำ <<
>> (New) รวบรวมจากรุ่นพี่ที่สอบได้อันดับต้นๆ+เจาะลึกตรงประเด็น เก็งข้อสอบ <<
>> (Pdf) แนวข้อสอบพร้อมเฉลย+เนื้อหาสรุปเรียบร้อย ประหยัดเวลาในการอ่าน
 <<