การเตรียมตัวสอบกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
29 กรกฎาคม 2564
ผู้ชม 166 ผู้ชม
การเตรียมตัวสอบกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
คำแนะนำในการสอบกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
กรมสอบสวนคดีพิเศษแห่งราชอาณาจักรไทย (Department of Special Investigation) หรือ ดีเอสไอ (อังกฤษ: DSI) เป็นหน่วยงานของรัฐ สังกัด กระทรวงยุติธรรม เพื่อป้องกัน ปราบปราม และควบคุมอาชญากรรมที่มีผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคงและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ในการสอบเข้ากรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI การสอบบรรจุเข้ารับราชการผู้เข้าสอบจะต้องเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ของสำนักงาน ก.พ. ก่อน แต่ถ้าสอบเป็นพนักงานราชการไม่ต้องใช้ใบสอบผ่านภาค ก ของ ก.พ. การสอบเข้ากรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI จะมีการประเมินสมรรถนะอยู่ 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 โดยการสอบข้อเขียน ครั้งที่ 2 โดยการสัมภาษณ์ และจะต้องผ่านการประเมินสมรรถนะครั้งที่ 1 โดยวิธีการสอบข้อเขียนก่อนและเมื่อผ่านการประเมินสรรถนะครั้งที่ 1 แล้ว จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการประเมินสมรรถนะครั้งที่ 2 โดยวิธีสอบสัมภาษณ์ ทั้งนี้จะต้องได้คะแนนสอบข้อเขียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60
การเตรียมตัวสอบ
- การสอบข้อเขียน ในประกาศรับสมัคร จะระบุขอบเขตเนื้อหาที่ใช้สอบมาให้ ให้เอาขอบเขตนั้น ไปหาข้อมูลเนื้อหามาอ่านมาศึกษาและควรหาเนื้อหาให้กว้างและลึกกว่าที่ประกาศเพราะจะได้ครอบคลุมเนื้อหาที่ใช้สอบ นอกจากนี้อย่าลืมความรู้เกี่ยวกับหน่วยงานที่ไปสอบด้วย โดยดูตามประกาศ คุณสมัครตำแหน่งไหน ก็ไปอ่านตามนั้น หลักๆ ที่ทุกตำแหน่งต้องสอบ ก็คือ โครงสร้างกับภารกิจ (น้ำหนัก 30% )
เข้าไปอ่านในเว็บไซต์ DSI ก็พอ ว่า หลักๆทำอะไรบ้าง โครงสร้างเป็นไงอ่านข่าวประชาสัมพันธ์บนเว็บไซต์ด้วยก็ดี ถ้ามีเวลาเหลือ ก็ดูเรื่อง คดีพิเศษ ว่าคืออะไร และต่างจากคดีธรรมดายังไง (เช่น ม 21) เพราะคดีพิเศษเป็นอะไรที่คนมักจะนึกถึง เวลาพูดถึง DSI อีกส่วนก็ความรู้ทั่วไป การเมือง เศรษฐกิจ สังคม (น้ำหนัก 20% ) อาจจะดูข่าวย้อนหลัง 3 - 4 เดือน ก็ได้ โดยหาดูได้จากพวกนิตยสารรายสัปดาห์ อย่าง มติชนรายสัปดาห์ และห้องสมุดทั่วๆไปจะเก็บเล่มย้อนหลังไว้ให้อ่าน
- การสอบสัมภาษณ์ ขึ้นอยู่กับดวงด้วยว่าจะเจอกรรมการยังไง ความสามารถด้วย หลักๆก็บุคลิกภาพ ความรู้ ความมั่นใจ ความถ่อมตัว ต้องพอดีกัน ไม่ใช่เก่งซะจนจะเหยียบหัวกรรมการ หรือ ถ่อมตัวซะจนไม่มีอะไรดี การสอบสัมภาษณ์มีทั้งการซักถามประวัติส่วนตัว การศึกษา การทำงานไปจนถึงการทดสอบความรู้ความเข้าใจความสามารถ ในตำแหน่ง และยังรวมไปถึง ความสามารถในการบริหาร จัดการ งานต่างๆ เช่น การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า กรรมการอาจยกกรณีนึงมาให้ แล้วถามเราว่าจะทำยังไง ฯลฯ
เตรียม ความรู้เกี่ยวกับตำแหน่ง หน่วยงาน และ คำถาม-คำตอบ ปกติทั่วไปของการสอบสัมภาษณ์ ให้ดีๆ
ในการสัมภาษณ์ควรทำใจให้สบาย ตอบคำถามแบบธรรมขาติ เป็นตัวของตัวเอง โดยส่วนใหญ่กรรมการจะถามคำถามต่อไปนี้ คือ 1. ให้แนะนำตัวเอง 2.เหตุผลในการตัดสินใจเข้ารับราชการ 3. เล่าถึงประสบการณ์ในการทำงาน
วิชาที่ใช้สอบเป็นพนักงานราชการ มีดังนี้คือ
การประเมินครั้งที่ 1 โดยวิธีสอบข้อเขียน (100 คะแนน)
- ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ โครงสร้าง บทบาท ภารกิจของหน่วยงาน
- ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเมือง เศรษฐกิจและสังคม
- ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ
การประเมินครั้งที่ 2 โดยการสอบสัมภาษณ์ (100 คะแนน)
พิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทํางาน ประสบการณ์ที่เหมาะสมกับตำแหน่ง การมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับผู้อื่น ท่วงที วาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
วิชาที่ใช้สอบเป็นข้าราชการ มีดังนี้คือ
1. ความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง ( 200 คะแนน )
2. การสอบสัมภาษณ์ ( 100 คะแนน ) เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตําแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์หรือวิธีอื่นเพื่อประเมินความเหมาะสมกับตําแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทํางานประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติการปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขันเพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จําเป็นสําหรับตําแหน่ง
ทั้งนี้ กําหนดให้ผู้สมัครสอบ ต้องสอบความรู้ความสามารถเฉพาะตําแหน่งก่อนผ่านก่อน โดยมีคะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 จึงจะมีสิทธิเข้าสอบภาคความเหมาะสมกับตําแหน่ง
(1) วิชาความรู้ความเข้าใจพื้นฐานในการปฏิบัติราชการ (60 คะแนน)
- กฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติราชการ
- ความรู้เกี่ยวกับสภาพแวดล้อม สถาณการณ์ปัจจุบันทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยีของประเทศไทยและต่างประแทศ
(2) วิชาความรู้ความเจ้าใจในบทบาทภารกิจหน้าที่ของหน่วยงาน (40 คะแนน)
- กฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ
- วิสัยทัศน์ พันธกิจ โครงสร้าง อำนาจหน้าที่ ภารกิจ นโยบายและยุทธศาสตร์การบริหารงานของหน่วยงาน
- วิชาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายลักษณะพยาน (100 คะแนน)
รายละเอียดวิชาที่สอบ
1 ความรู้เกี่ยวกับ DSI
2 แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมสอบสวนคดีพิเศษ
3 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ.2547
4 แนวข้อสอบ พรบ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539
5 แนวข้อสอบ พรฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
6 แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
7 แนวข้อสอบ พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539
8 แนวข้อสอบระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544
9 แนวข้อสอบระเบียบว่าด้วยรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.2552 แก้ไขเพิ่มเติม
10 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551
11 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534
12 แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม
13 แนวข้อสอบความรู้เหตุการณ์ปัจจุบัน การเมือง เศรษฐกิจและสังคม
ข้อสอบวิศวกรโยธากรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบวิศวกรเครื่องกลกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักประชาสัมพันธ์กรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผนกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบสถาปนิกสอบกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนายช่างโยธากรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบวิศวกรไฟฟ้ากรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนายช่างไฟฟ้ากรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักวิชาการเงินและบัญชีกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบเจ้าหน้าที่การเงินและบัญชีกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบเจ้าพนักงานการเงินและบัญชีกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบบรรณารักษ์กรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบพนักงานบริหารงานทั่วไปกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักทรัพยากรบุคคลกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักระบบงานคอมพิวเตอร์กรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักวิชาการคอมพิวเตอร์กรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบเจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์กรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบพนักงานเขียนแบบกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนายช่างสำรวจกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบพนักงานธุรการกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักจัดการงานทั่วไปกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบพนักงานประจำสำนักงานกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักวิชาการสัตวบาลกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักวิทยาศาสตร์กรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักวิทยาศาสตร์การแพทย์กรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักวิชาการสาธารณสุขกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักวิชาการกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบพนักงานการกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักวิชาการคลังกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักวิชาการวัฒนธรรมกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักวิชาการศาสนากรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักสังคมสงเคราะห์กรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักจิตวิทยากรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักวิชาการตรวจสอบภายในกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบเจ้าหน้าที่ประมงกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักวิชาการประมงกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักวิชาการสถิติกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบเศรษฐกรกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักวิชาการกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบเจ้าพนักงานพัสดุกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบ นักวิชาการแรงงานกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักวิชาการศึกษากรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักวิชาการโสตทัศนศึกษากรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักวิชาการสิ่งแวดล้อมกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบช่างยนต์กรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักวิชาการขนส่งกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักวิเทศสัมพันธ์กรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI
ข้อสอบนักการตลาดกรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI