สอบบรรจุสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดสุพรรณบุรี

22 ตุลาคม 2564

ผู้ชม 203 ผู้ชม

 
สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดสุพรรณบุรี มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(1) ดำเนินการเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของกรมในพื้นที่ระดับจังหวัด
(2) กำกับ ดูแล และสนับสนุนการปฏิบัติงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตจังหวัดสุพรรณบุรี
(3) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
 
กลุ่มงานยุทธศาสตร์และการจัดการ
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ
1. ประสานให้คำปรึกษาแนะนำทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการนำนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยระดับประเทศ กระทรวง กรม แปลงไปสู่การปฏิบัติระดับกลุ่มจังหวัด จังหวัด อำเภอ และองค์กร
2. จัดทำและปรับปรุงแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ให้เป็นไปตามที่กฎหมายและระเบียบกำหนด
3. กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบาย แผน และยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในพื้นที่รับผิดชอบ
4. วิเคราะห์ใช้ประโยชน์ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลเครือข่ายและฐานข้อมูลด้านสาธารณภัย รวมทั้งบริหารจัดการระบบเทคโนโลยี่สารสนเทศของหน่วยงาน
5. บูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยในพื้นที่กาฬสินธุ์
6. ทำหน้าที่ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด
7. ทำหน้าที่ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนนระดับจังหวัด
8. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน ประชาชน รวมทั้งเครือข่ายภาครัฐและเอกชน ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
9. เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และให้ความรู้ในด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
10. ตรวจสอบโครงการที่หน่วยงานขอรับการสนับสนุนงบประมาณให้เป็นไปตามแบบมาตรฐานของสำนักงบประมาณ หรือตามที่กฎหมายอื่นๆ กำหนด
11. ประสาน สนับสนุนการจัดหา จัดสรรทรัพยากรในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
12. บริหารงานทั่วไป งานสารบรรณ งานรัฐพิธีและราชพิธี งานเรื่องราวร้องทุกข์ งานวินัย งานการเจ้าหน้าที่งานกำกับติดตามการปฏิบัติราชการตามตัวชี้วัดและการพัฒนาระบบราชการ งานบริหารความเสี่ยงงานงบประมาณ งานการเงินและบัญชี งานพัสดุครุภัณฑ์ งานอาคารสถานที่และยานพาหนะของหน่วยงาน
13. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
 
ฝ่ายป้องกันและปฏิบัติการ
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ
1. วิเคราะห์ สำรวจ และจัดทำฐานข้อมูลด้านสาธารณภัย พื้นที่เสี่ยงภัย สภาพภูมิประเทศ และสิ่งก่อสร้างที่อาจเป็นสาเหตุของการเกิดสาธารณภัย
2. เฝ้าระวัง รับแจ้งเหตุ แจ้งเตือนภัย รายงานติดตามสถานการณ์สาธารณภัยตลอด 24 ชั่วโมง รวมทั้งประเมินและรายงานระดับความรุนแรงขั้นต้นของสาธารณภัย
3. จัดทำแผนปฏิบัติการความเสี่ยงภัยด้านต่างๆ และแผนการอพยพประชาชนจากพื้นที่เสี่ยงภัยให้เป็นไปตามที่กฎหมายและระเบียบกำหนด
4. ฝึกซ้อมการป้องกันสาธารณภัยให้เป็นไปตามที่กฎหมายและระเบียบกำหนด
5. สนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินงานของกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)ทีมกู้ชีพกู้ภัย และภาคีเครือข่าย
6. จัดตั้งและอำนวยการบริหารจัดการศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจสาธารณภัยในระดับจังหวัดสุพรรณบุรี
7. ประสานการปฏิบัติงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อาสาสมัคร เครือข่ายภาครัฐ ภาคเอกชนในพื้นที่ ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยระดับจังหวัด
8. บริหารจัดการให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ประสบภัย อพยพ และกู้ชีพกู้ภัยในสภาวะฉุกเฉินโดยการบูรณาการจากทุุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
9. ดำเนินการและประสานงานด้านวิศวกรรมในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในพื้นที่ รวมทั้งฟื้นฟูบูรณะพื้นที่ประสบภัย เพื่อบรรเทาความเดือนร้อนในสภาวะฉุกเฉินและดำเนินการแก้ไขให้กลับคืนสู่สภาพปกติโดยเร็ว
10. ควบคุม กำกับ ติดตาม เร่งรัดการปฏิบัติการป้องกัน บรรเทา และฟื้นฟูด้านสาธารณภัยให้เป็นไปตามที่กฎหมายและระเบียงกำหนด
11. บริหารจัดการและดูแลการใช้ระบบสื่อสารคลื่นความถี่กลางในระดับจังหวัดสุพรรณบุรี
12. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
 
ฝ่ายส่งเคราะห์ผู้ประสบภัย
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ
1. ดำเนินการเกี่ยวกับการประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน
2. ประเมินความเสียหายจากสภาพข้อเท็จจริงและข้อมูลการขอรับการช่วยเหลือให้เป็นไปตามระเบียบและหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด
3. วางระบบการสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่และดำเนินการสงเคราะห์ช่วยเหลือเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนเบื้องต้น
4. ทำหน้าที่ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติระดับจังหวัด (ก.ช.ภ.จ.) และสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติระดับอำเภอ (ก.ช.ภ.อ.)
5. สนับสนุนและบริหารจัดการงบกลางและเงินทดรองราชการในอำนาจของผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรี รวมถึงการตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารหลักฐานใบสำคัญ การขอโอนเงินชดใช้เงินทดรองราชการในอำนาจของผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอำเภอ ให้เป็นไปตามระเบียบและหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด
6. จัดตั้งและอำนวยการบริหารจัดการศูนย์รับบริจาคเงินและสิ่งของช่วยเหลือผู้ประสบภัย
7. จัดทำฐานข้อมูลสิ่งของสำรองจ่าย เพื่อให้การตรวจสอบ จัดหา เก็บสำรอง และแจกจ่ายสิ่งของสำรองจ่ายเป็นไปอย่างเป็นระบบ
8. สนับสนุนและบริหารจัดการศูนย์พักพิงชั่วคราว
9. ติดตามและประเมินผลการให้ความช่วยเหลือสงเคราะห์ผู้ประสบสาธารณภัย
10. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

                     ความลับการเป็นข้าราชการมาถึงมือท่านแล้ว                        

ไฟล์ราคา 389 เพิ่ม 100 บาท แถมฟรี ชุดติวสอบ ภาค ก แบบเข้าใจง่าย
หนังสือราคา 789 บวก แถมฟรี MP3บรรยาย และโปรแกรมฝึกทำข้อสอบ ภาค ก 
>รวบรวมจาก
ผู้สอบติดอันดับต้นๆ เจาะข้อสอบเข้างานราชการหน่วยงานและจังหวัดสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกาฬสินธุ์ <<
 
>> (Book) สรุปสาระสำคัญ อ่านกระชับเวลา ไม่สับสน เข้าใจง่าย ออกชัวร์ๆ แม่นยำ <<
>> (New) รวบรวมจากรุ่นพี่ที่สอบได้อันดับต้นๆ+เจาะลึกตรงประเด็น เก็งข้อสอบ <<
>> (Pdf) แนวข้อสอบพร้อมเฉลย+เนื้อหาสรุปเรียบร้อย ประหยัดเวลาในการอ่าน
 <<