การเตรียมตัวสอบครูผู้ช่วย สพฐ.
29 กรกฎาคม 2564
ผู้ชม 339 ผู้ชม
การเตรียมตัวสอบครูผู้ช่วย สพฐ.
คำแนะนำในการสอบครูผู้ช่วย สพฐ.
การสอบครูผู้ช่วย สพฐ. จะแบ่งออกเป็น 3 ภาค คือ ภาค ก ภาค ข และ ภาค ค การที่จะสอบขึ้นบัญชีได้ ผู้เข้าสอบต้องผ่านสอบผ่านทั้งภาค ภาค ก. และ ภาค ข. และได้คะแนนอย่างละ 60% ขึ้นไป จึงจะผ่าน ดังนั้นผู้เข้าสอบต้องเตรียมตัวมาอย่างดี หลายคนส่วนใหญ่ทำข้อสอบในวิชาภาค ก ความสามารถทั่วไปไม่ทัน เนื่องจากในวิชาภาษาไทยโจทย์จะยาวมาก การเลือกทำข้อสอบก็เป็นแนวทางอย่างหนึ่งที่จะทำให้ทำข้อสอบได้ทันเวลา ควรเลือกทำวิชาภาษาไทยก่อน แล้วค่อยไปทำคณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ
ก่อนอื่นผู้เข้าสอบต้องดูหลักสูตรการสอบที่เขาประกาศก่อน เพื่อให้รู้ว่าเนื้อหาที่เราจะอ่านหรือต้องรู้มีอะไรบ้าง...จะได้ไม่สับสน อ่านไปโดยไม่รู้ว่าเขาสอบอะไรบ้างเพราะหลักสูตรการสอบบรรจุคือไกด์ไลน์ที่จะทำให้ผู้เข้าสอบไปถูกทาง ถ้ามีเวลาต้องหมั่นศึกษาหาความรู้รอบตัว ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม เพื่อให้ทันต่อความเปลี่ยนแปลง และได้เปรียบคู่แข่ง นอกจากนี้ต้องสำรวจตัวเองว่ามีข้อด้อยในวิชาอะไร และหมั่นฝึกฝน หาความรู้ เช่น ด้านภาษาไทย ด้านตัวเลข วิชาการศึกษา โดยเฉพาะที่ไม่ผ่านกันมากคือ วิชาเอกของตัวเอง
ในการสอบสัมภาษณ์แนะนำให้ทำแผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับแผ่นพับแนะนำตัวเองนั้นมีคนบอกว่า ถ้าเราเขียนอะไรที่มันเยิ่นเย้อ จัดเต็มอัดแน่นจนเกินไปจากที่เป็นแผ่นพับอันสวยงามเต็มไปด้วยข้อมูลดีๆของเรา แผ่นพับนั้นมันจะกลายเป็นขยะทันที พูดง่ายๆ ก็คือ แผ่นพับแนะนำตัวเองควรนำเสนอข้อมูลที่เป็นสุดยอดของเรา เป็นผลงานที่เราภูมิใจและล่าสุด ในแผ่นพับไม่ต้องบอกก็ได้ว่าเราจบโรงเรียนอนุบาลอะไรมา สมัยประถมแข่งประกวดวาดรูปได้ที่ 1 ได้รับเข็มบำเพ็ญประโยชน์ของโรงเรียน ตอน ม.2 ไม่ต้องจัดเต็มอะไรแบบนี้มาก็ได้ แต่ให้เขียนเข้าประเด็นไปเลย จบ ป.ตรี เอกอะไรมา ป.โท เอกอะไร เป็นวิทยากรอบรม ICT พาเด็กไปแข่งขันทักษะได้เหรียญทองระดับชาติ ให้เอาผลงานที่ดีที่สุดและเขียนให้กระชับได้ใจความที่สุด อีกทั้งไม่มีกรรมการคนไหนหรอกที่อยากอ่านแผ่นพับที่เต็มไปด้วยตัวหนังสือเยอะแยะมากมาย จับประเด็นอะไรไม่ได้ว่าเรามีดีอะไร ว่าเราคือใคร มีผลงานอะไรบ้าง มีความสามารถพิเศษอะไรบ้าง แบบนี้เขาไม่อ่านแน่นอน เพราะไม่ใช่มีเราคนเดียวที่มาสอบสัมภาษณ์ มีคนเป็นร้อยๆพันๆ ที่เข้ามาสอบสัมภาษณ์
ที่สำคัญที่คนทั่วไปมองข้ามอีกอย่างหนึ่ง คือการใส่รูปในแผ่นพับ ควรหารูปที่คิดว่าตัวเองดูดีที่สุดใส่ลงไป เพราะคนส่วนใหญ่แล้วชอบมองรูปก่อนอ่านตัวหนังสือ รูปภาพหนึ่งภาพแทนคำพูดเป็นพันๆคำ คนเรามองที่หน้าตาก่อนจะมองที่จิตรใจ สรุปของการทำแผ่นพับแนะนำตนเองก็คือ สั้น กระชับ ได้ใจความ
หลักสูตรที่ใช้ในการสอบ มีดังนี้คือ
ภาค ก ความรอบรู้ ความสามารถทั่วไป และความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรมและอุดมการณ์ของความเป็นครู มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา และมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (150 คะแนน)
1.ความรอบรู้ (50 คะแนน)
1.1 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและเหตุการณ์ปัจจุบัน
1.2 นโยบายของรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
1.3 วัฒนธรรมไทย และขนบธรรมเนียมประเพณีไทย
1.4 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติราชการ
1.4.1 กฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาแห่งชาติ
1.4.2 กฎหมายเกี่ยวกับระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
1.4.3 กฎหมายเกี่ยวกับสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
1.4.4 กฎหมายเกี่ยวกับระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
1.4.5 กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองเด็ก
1.4.6 กฎหมายเกี่ยวกับการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ
1.5 ภาษาอังกฤษ
2. ความสามารถทั่วไป (50 คะแนน)
2.1 ความสามารถด้านตัวเลข
2.2 ความสามารถด้านภาษาไทย
2.3 ความสามารถด้นเหตุผล
3. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และอุดมการณ์ของความเป็นครู มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา และมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (50 คะแนน)
ภาค ข ความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (150 คะแนน)
1.วิชาการศึกษา (75 คะแนน)
2.วิชาเอก (75 คะแนน)
ภาค ค ความเหมาะสมกับตำแหน่งและวิชาชีพ (50 คะแนน) ประเมินโดยการสอบสัมภาษณ์
รายละเอียดวิชาที่สอบ
ครูผู้ช่วย สพฐ. ภาค ก
1 แนวข้อสอบความรู้เหตุการณ์ปัจจุบัน การเมือง เศรษฐกิจและสังคม
2 นโยบายของรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา
3 แนวข้อสอบวัฒนธรรมและประเพณี
4 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
5 แนวข้อสอบ พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
6 แนวข้อสอบ พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
7 แนวข้อสอบ พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
8 แนวข้อสอบกฎหมาย พรบ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546
9 แนวข้อสอบ พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ.2551
10 แนวข้อสอบวินัยและการรักษาวินัย
11 แนวข้อสอบ คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม
12 แนวข้อสอบจรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพครู
13 แนวข้อสอบสมรรถนะวิชาชีพครู
14 แนวข้อสอบการวัดและประเมินผล
15 แนวข้อสอบสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
ข้อสอบวิศวกรโยธาครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบวิศวกรเครื่องกลครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักประชาสัมพันธ์ครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผนครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบสถาปนิกสอบครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนายช่างโยธาครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบวิศวกรไฟฟ้าครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนายช่างไฟฟ้าครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักวิชาการเงินและบัญชีครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบเจ้าหน้าที่การเงินและบัญชีครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบเจ้าพนักงานการเงินและบัญชีครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบบรรณารักษ์ครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบพนักงานบริหารงานทั่วไปครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักทรัพยากรบุคคลครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักระบบงานคอมพิวเตอร์ครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักวิชาการคอมพิวเตอร์ครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบเจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบพนักงานเขียนแบบครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนายช่างสำรวจครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบพนักงานธุรการครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักจัดการงานทั่วไปครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบพนักงานประจำสำนักงานครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักวิชาการสัตวบาลครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักวิทยาศาสตร์ครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักวิชาการสาธารณสุขครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักวิชาการครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบพนักงานการครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักวิชาการคลังครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักวิชาการวัฒนธรรมครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักวิชาการศาสนาครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักสังคมสงเคราะห์ครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักจิตวิทยาครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักวิชาการตรวจสอบภายในครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบเจ้าหน้าที่ประมงครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักวิชาการประมงครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักวิชาการสถิติครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบเศรษฐกรครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักวิชาการครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบเจ้าพนักงานพัสดุครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบ นักวิชาการแรงงานครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักวิชาการศึกษาครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักวิชาการโสตทัศนศึกษาครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักวิชาการสิ่งแวดล้อมครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบช่างยนต์ครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักวิชาการขนส่งครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักวิเทศสัมพันธ์ครูผู้ช่วย สพฐ.
ข้อสอบนักการตลาดครูผู้ช่วย สพฐ.